Linux Administration
- ระยะเวลา: 30 ชั่วโมง (5 วัน)
- ราคา: 10,700 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว)
- รายละเอียดหลักสูตรรูปแบบ PDF
รายละเอียดหลักสูตร
หลักสูตรนี้ เป็นการบริหารจัดการระบบลีนุกซ์เซิร์ฟเวอร์อย่างมืออาชีพ ในเนื้อหาโดยรวมจะกล่าวถึงหน้าที่ของผู้ดูแลระบบ ตั้งแต่การเตรียมการติดตั้ง การติดตั้งระบบ การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้งาน การจัดการระบบเน็ตเวิร์ค การรักษาความปลอดภัยให้กับระบบ การเปิดปิดเครื่องอย่างถูกต้อง การจัดการบริการต่างๆ ในระบบการตั้งเวลาการทำงาน การเขียนเชลล์สคริปต์เพื่อเพิ่มความสามารถในการจัดการระบบ การสำรองข้อมูล ตลอดจนการกู้ระบบ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญที่ผู้ดูแลระบบควรรู้ และเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญ สามารถนำความรู้ทักษะต่าง ๆ ไปดูแลระบบและแก้ไขปัญหาในองค์กรได้อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งเป็นผู้ดูแลระบบที่ดีได้อย่างมั่นใจ
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของผู้ดูแลระบบ
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถติดตั้งระบบลีนุกซ์และใช้งานได้ทั้งแบบกราฟฟิค (Graphic) และคอมมานด์ไลน์(Command line)
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถดูและจัดการระบบให้มีความเสถียรและความปลอดภัยในการให้บริการ
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถจัดการติดตั้งซอฟต์แวร์เพิ่มเติมได้
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถจัดการกับปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถทำการสำรองข้อมูลและการเรียกคืนข้อมูลของระบบ รวมถึงการกู้ระบบอีกด้วย
ความรู้พื้นฐาน
ผู้เข้าอบรมควรจะมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์มาพอสมควร
ซอฟต์แวร์ที่ใช้
- CentOS
เนื้อหาหลักสูตร
ครั้งที่ 1
- แนะนำให้รู้จักลีนุกซ์ ความเป็นมา open source
- แนะนำ Centos และ Redhat ดิสทริบิวชั่น
- แนะนำการใช้งาน ขีดความสามารถ การทำงานทดแทนระบบแบบอื่น
- ปรับพื้นฐานฮาร์ดแวร์และระบบเครือข่ายเพื่อเตรียมการติดตั้ง
- Hardware, Kernel, OS
- Disk Partitioning
- File systems, swap
- ติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
- โครงสร้างไดเรกทอรี่ในภาพรวมของระบบ
- IP Network
- ติดตั้งลีนุกซ์ centos
- การเลือก packages
- สอนการใช้สภาพแวดล้อมแบบ X-Windows พื้นฐาน
- รู้จักกับ shell
- คำลั่งลีนุกซ์พื้นฐานที่สำคัญ
ครั้งที่ 2
- แนะนำไฟล์และไดเรกทอรีสำคัญ
- การใช้งานโปรแกรม Vi Editor เพื่อจัดการกับไฟล์เอกสาร
- การพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซีเบื้องต้น
- การบริหารจัดการบริการ (Service) ต่าง ๆ
- แนะนำบริการพื้นฐาน เช่น เว็บเซิร์ฟเวอร์ ไฟล์วอลล์ เป็นต้น
- คำสั่งในการจัดการกับโพรเซส (Process)
- การปิดระบบอย่างถูกต้อง
ครั้งที่ 3
- การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้
- การเพิ่ม แก้ไข และลบบัญชีผู้ใช้
- รู้จักกับไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับบัญชีผู้ใช้
- การเพิ่ม ลบกลุ่มของผู้ใช้ด้วย
- กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจัดการกับบัญชีผู้ใช้
- เข้าใจเรื่องของสิทธิ (Permission) และการใช้คำสั่งในการจัดการ
- โปรแกรมอรรถประโยชน์และคำสั่งในการบีบอัดไฟล์
- คำสั่งที่จำเป็นเพิ่มเติม เช่น at ,find, locate, whereis, w and last เป็นต้น
- การบริหารจัดการเครือข่าย
- การใช้งานคำสั่งสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย
- การจัดการกับการ์ดเครือข่าย
- การปรับแต่งค่าทางเครือข่าย
- การกำหนดค่า DNS ที่ไฟล์
- การจัดการกับเซอร์วิสทางเครือข่าย
- การเข้าใช้งานระบบจากระยะไกล
- การใช้งาน VNC Server
- การใช้งาน Secure shell
- การใช้งาน FTP, SFTP and SCP
ครั้งที่ 4
- พื้นฐานการบริหารจัดการระบบ
- เข้าใจกระบวนการทำงานของ System startup
- การใช้งานคำสั่ง init
- รู้จักกับ Grub
- การติดตั้งซอฟต์แวร์เพิ่มเติม
- ติดตั้งซอฟต์แวร์ด้วยไฟล์ RPM
- จัดการกับซอฟต์แวร์ด้วยคำสั่ง YUM
- ติดตั้งซอฟต์แวร์แบบ Source code
- การสร้างไฟล์ติดตั้งแบบ RPM ด้วยคำสั่ง rpmbuild
- แจ้งเตือนผู้ใช้ก่อนการปิดระบบด้วยคำสั่ง wall และ write
ครั้งที่ 5
- การเชื่อมต่อ CD/DVD และ USB Disk / Thumb Drive
- การบริหารจัดการฮาร์ดดิสก์
- การเชื่อมต่อ (mount) และ การตัดการเชื่อมต่อ (unmount) อุปกรณ์
- รู้จักกับระบบไฟล์ (File System) ต่าง ๆ
- การแบ่งพาทิชั่นฮาร์ดดิสก์ (Disk Partitioning)
- การจัดการกับระบบไฟล์ และ Swap
- การใช้งาน Logical Volume Management (LVM2)
ครั้งที่ 6
- การจัดการ quota ของฮาร์ดดิสก์
- การปรับแต่งตัวแปรระบบ
- รู้จักกับตัวแปรระบบ (System Variable) และตัวแปรสภาพแวดล้อม (Environment Variable)
- การใช้งานตัวแปร bashrc และ bash_profile
- กำหนดตัวแปรระบบด้วยวิธีต่าง ๆ
- การใช้งานตัวแปร PATH และ LD_LIBRALY_PATH
- การปรับแต่งตัวแปรไลบราลี
- ความปลอดภัยของระบบ
- การใช้งาน iptables เบื้องต้นเพื่อสร้างไฟร์วอลล์ (Firewall) ป้องกันความปลอดภัยของระบบ
- การใช้งานคำสั่ง visudo, sudo และ su
- การจัดการ Secure shell เพื่อความปลอดภัย
- เพิ่มความปลอดภัยให้กับระบบด้วยซอฟต์แวร์ fail2ban
- เรียนรู้ถึงนโยบายความปลอดภัย
- เข้าใจบทบาทและหน้าที่ของผู้ดูแลระบบที่ดี
- เข้าใจถึงความปลอดภัยทางด้านกายภาพ
ครั้งที่ 7
- การเขียนเชลล์สคริปต์ (Shell script)
- รู้จักกับตัวแปร
- ใช้งานคำสั่งในการตัดสินใจ if-else
- ใช้งานคำสั่งวนลูป for
- การใช้งานคำสั่งจากภายนอก
- การส่งและรับค่าตัวแปร argument
- งานอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ดูแลระบบ
- การสำรองและกู้ข้อมูล
- การตั้งเวลาการทำงานด้วย cron
- การคัดลอกข้อมูลด้วยคำสั่ง rsync
ครั้งที่ 8
- การใช้งานเมล์ไคลเอนท์
- ใช้งานเมล์ด้วยคำสั่ง mutt
- การตั้งค่าการส่งต่อ (Forward) อีเมล์
- จัดการกับระบบผ่านทาง X-Windowsการใช้งานโปรแกรมเซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ เช่น LAMP Server
- การติดตั้งโปรแกรมมอร์นิเตอร์ริ่งอย่าง nagios
ครั้งที่ 9
- การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
- การวิเคราะห์ Log ที่สำคัญและคำสั่งที่เกี่ยวข้อง
- การใช้งาน Linux re secure เพื่อแก้ไขปัญหาในกรณีบูตไม่ขึ้นต่าง ๆ
- แก้ไขปัญหาการลืมรหัสผ่านของ root ด้วยการบูทระบบแบบ single เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านของ root
- เข้าใจเรื่องการ module และ kernel
ครั้งที่ 10
- การอัพเกรดระบบ upgrade ระบบ
- การติดตั้ง OS ใหม่ และการ restore ข้อมูล
- เจาะลึกเรื่องที่อยากรู้และถามตอบปัญหา